distillatexpress.org

แผน Active Learning

Fri, 15 Jul 2022 20:14:22 +0000

การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ ( Active Learning) หลักการที่สําคัญของไฮสโคปในระดับปฐมวัย คือ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา ซึ่งถือว่าเป็นพื้นฐานสําคัญในการพัฒนาเด็ก การเรียนรู้แบบลงมือกระทําจะเกิดขึ้นอย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุดในโปรแกรมที่พัฒนาเด็กอย่างเหมาะสมกับพัฒนาการ การเรียนรู้แบบลงมือกระทํา หมายถึง การเรียนรู้ซึ่งเด็กได้จัดกระทํากับวัตถุ ได้มีปฏิสัมพันธ์กับบุคคล ความคิดและเหตุการณ์ จนกระทั่งสามารถสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง ( Hohmann and Weikart, 1995) ทั้งนี้ องค์ประกอบของการเรียนรู้แบบลงมือกระทํา ได้แก่ 1. การเลือกและตัดสินใจ เด็กจะเป็นผู้ริเริ่มกิจกรรมจากความสนใจและความตั้งใจของตนเอง เด็กเป็นผู้เลือกวัสดุอุปกรณ์และตัดสินใจว่าจะใช้วัสดุอุปกรณ์นั้นอย่างไร การที่เด็กมีโอกาสเลือกและตัดสินใจทําให้เด็กเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเองมากกว่าได้รับการถ่ายทอดความรู้จากผู้ใหญ่ ดังนั้น ผู้ใหญ่ที่ตระหนักถึงความสำคัญเรื่องการเลือกและการตัดสินใจต้องจัดให้เด็กมีอิสระที่จะเลือกได้ตลอดทั้งวันขณะที่ปฏิบัติกิจวัตรประจำวันไม่ใช่เฉพาะในช่วงเวลาเล่นเสรีเท่านั้น 2. สื่อ ในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระทำจะมีเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ที่หลากหลาย เพียงพอ และเหมาะสมกับระดับอายุของเด็ก เด็กต้องมีโอกาสและมีเวลาเพียงพอที่จะเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์อย่างอิสระ เมื่อเด็กใช้เครื่องมือหรือวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ เด็กจะมีโอกาสเชื่อมโยงการกระทำต่าง ๆ การเรียนรู้ในเรื่องของความสัมพันธ์ และมีโอกาสในการแก้ปัญหามากขึ้นด้วย 3.

ภาษาอังกฤษ ป. 6

การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 การเรียนรู้ด้วยการลงมือกระทำเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับประสาทสัมผัสทั้ง 5 การให้เด็กได้สำรวจและจัดกระทำกับวัตถุโดยตรงทำให้เด็กรู้จักวัตถุ หลังจากที่เด็กคุ้นเคยกับวัตถุ แล้วเด็กจะนำวัตถุต่าง ๆ มาเกี่ยวข้องกันและเรียนรู้เรื่องความสัมพันธ์ ผู้ใหญ่มีหน้าที่จัดให้เด็กค้นพบความสัมพันธ์เหล่านี้ด้วยตนเอง 4. ภาษาจากเด็ก สิ่งที่เด็กพูดจะสะท้อนประสบการณ์และความเข้าใจของเด็ก ในห้องเรียนที่เด็กเรียนรู้แบบลงมือกระทําเด็กมักจะเล่าว่าตนกําลังทําอะไร หรือทําอะไรไปแล้วในแต่ละวัน เมื่อเด็กมีอิสระในการใช้ภาษาเพื่อสื่อความคิดและรู้จักฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เด็กจะเรียนรู้วิธีการพูดที่เป็นที่ยอมรับของผู้อื่น ได้พัฒนาการคิดควบคู่ไปกับการพัฒนาความเชื่อมั่นในตนเองด้วย 5.

  1. Colon cancer guideline ไทย 2018
  2. รีวิว SKULL BINGO เกมส์ บิงโกออนไลน์ ได้เงินจริง โบนัสแตกโคตรง่าย
  3. 1.3การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) - การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป
  4. ประเทศกายอานา
  5. แผน active learning ภาษา อังกฤษ ป 2
  6. ผัด หอย ลาย โหระพา
  7. แผน active learning ภาษาอังกฤษ ป. 6
  8. แผน active learning resources
  9. แผน active learning คณิตศาสตร์
  10. แผน active learning อนุบาล 2

สุดยอดแผนการสอน Active Learning หลักสูตร ’51

CYF Learn โรงเรียนมือถือ เกี่ยวกับเรา About Us หน้าแรก Home ข่าวสาร Latest News สื่อการเรียน Media ดาวน์โหลด Downloads รับสมัคร Recruit Home \ Downloads \ แผนการจัดการเรียนรู้หน้าเดียวแบบ Active Learning แบบบันทึกแผนหน้าเดียว Attachments File size: 82 KB Downloads: 2026 By admin | February 20, 2020 | Downloads | 0 Comments | admin Previous แบบประเมินผู้เรียนรายบุคคล Next การจัดการเรียนรู้แบบบล็อก You must be logged in to post a comment. Main Menu หน้าแรก ข่าวสาร สื่อการเรียน ดาวน์โหลด รับสมัคร Latest post จังหวัดนครพนม บูราณาการความร่วมมือ 21 หน่วยงาน 5 ความร่วมมือ พัฒนาระบบสนับสนุนคุณภาพการเรียนรู้ และคุณภาพชีวิตเด็กและเยาวชนในจังหวัดนครพนม (นครพนมโมเดล) December 13, 2021 หน่วยงานการศึกษานครพนม จับมือศูนย์การเรียนซี วาย เอฟ สร้างโอกาสในการเรียนให้เด็กนอกระบบ ใช้คลิปไหน เรียนวิชาอะไรดี? ที่โรงเรียนมือถือ หมวดการงานอาชีพ November 22, 2021

หน่วยการเรียนรู้ Active Learning ที่ได้รับรางวัลเพื่อเป็นตัวอย่างให้กับครูในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ (25 ก. ย. 60) คำชี้แจง Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง My Story Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เลี้ยงปูนิ่ม Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง การคาดคะเนระยะทางและความสูง Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ดนตรีน่ารู้ Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง บ้านอุ๊ยขาดน้ำ Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง มารู้จักจังหวะการอ่านโตเพลงไทยแสนง่าย Download หน่วยการเรียนรู้เรื่อง สร้างสรรค์ภาพกราฟิก Download โดย: สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา อย่าลืมกดถูกใจเพจสถานีครูดอทคอม ไว้ด้วยนะครับ จะได้ไม่พลาดข่าวครู สื่อการเรียนการสอนของครูจากเรา เพราะเราอยากเห็นคุณครูมีความสุข Comments comments

สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว. ) เลขที่ 1256/9 อาคาร พว. ชั้นที่ 1-5 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กทม. 10300 โทร: 0-2243-8000 (อัตโนมัติ 15 สาย), 0-2241-8999 แฟกซ์: 0-2241-4131

1.3การเรียนรู้แบบลงมือกระทำ (Active Learning) - การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยตามแนวคิดไฮสโคป

1. เริ่มต้นด้วยขั้นตอนง่ายๆ (Take a baby steps) โดยเริ่มต้นจากการกำหนดเป้าหมาย อภิปราย สะท้อนผล แลกเปลี่ยนกับคนอื่นๆ เพื่อกำหนดว่า จะดำเนินการอย่างไร โดยพิจารณาและสะท้อนผลในประเด็นต่อไปนี้ 1. 1 หลักการอะไรที่จะสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติ 1. 2 เราจะเริ่มต้นความรู้ใหม่อย่างไร 1. 3 การออกแบบอะไรที่พวกเราควรใช้ในการตรวจสอบหลักฐานของการเรียนรู้ที่สำคัญ 2. การวางแผนด้วยความร่วมมือ (Plan Cooperatively) สมาชิกของกลุ่มกำหนดสารสนเทศที่ต้องใช้ในการดำเนินการ 3. การกำหนดความคาดหวังในระดับสูง (Set high expectations) และวิเคราะห์การสอนสืบเสาะหาวิธีการที่จะทำให้ประสบผลสำเร็จสูงสุด 3. 1 ทดสอบข้อตกลงที่เกี่ยวข้องกับการสอนหลังจากได้มีการจัดเตรียมต้นแบบที่เป็นการวางแผน ระยะยาว (Long-term) 3. 2 จัดให้มีช่วงเวลาของการชี้แนะ โดยเน้นการนำไปใช้ในชั้นเรียน 3. 3 ให้เวลาสำหรับครูที่มีความยุ่งยากในการสังเกตการณ์ปฏิบัติในชั้นเรียนของครูที่สร้างบรรยากาศในการเรียนรู้อย่างประสบผลสำเร็จ 4. เริ่มต้นจากจุดเล็กๆ (Start small) เริ่มต้นจากการใช้กลุ่มเล็กๆ ก่อน แล้วค่อยปรับขยาย 5. ศึกษาและใช้ข้อมูล (Study and use the data) ตรวจสอบผลการนำ ไปใช้และการสะท้อนผลเพื่อนำมากำหนดว่า แผนไหน ควรใช้ต่อไป/แผนไหนควรปรับปรุงหรือยกเลิก 6.

จากประสบการณ์ตรง ทำให้การทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์เป็นการทำงานเป็นกลุ่มหรือเป็นทีม ซึ่งอาจเป็นทีมในโรงเรียนเดียวกันก็ได้ ต่างโรงเรียนกันก็ได้ หรืออาจจะอยู่ห่างไกลกันก็ได้ โดย ลปรร. ผ่าน ICT ชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) คืออะไร?

PLC คืออะไร? สำคัญอย่างไร? การสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ สพป. เพชรบูรณ์ เขต 3 ในยุคปัจจุบันเป็นที่ทราบกันดีแล้วว่า ในแต่ละชั้นเรียนจะมีนักเรียนที่มีความสามารถที่หลากหลายและแตกต่างกัน ดังพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ. ศ.

Resources

กรุงเทพฯ: ตถาตาพลับลิเคชั่นจําากัด. สุรพล ธรรมร่มดี, ทัศนีย์ จันอินทร์, และคงกฤช ไตรยวงค์. (2553). อาศรมศิลป์วิจัย: การวิจัยและพัฒนาชุมชนแห่งการเรียนรู้ แนวจิตตปัญญา. โครงการเอกสารวิชาการการเรียนรู้สู่ การเปลี่ยนแปลง ลําดับที่ 8. นครปฐม: เอมี่ เอ็นเตอร์ไพรส์ จํากัด. Stoehr, J., Banks, M., & Allen, L. (2011). PLCs, DI, & RTI: A Tapestry for school change. Thousand Oakes, California: Crowin. Senge, P. M. (1990). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning Organization. Doubleday, New York, NY: MCB UP Ltd. M., N. Cambron-McCabe, T. Lucas, A. Kleiner,, & B. Smith. (2000). Schools that Learn:A Fifth Discipline Fieldbook for Educators, Parents, and Everyone Who Cares about Education. New York: Doubleday.

วางแผนเพื่อความสำเร็จ (Plan for success) เรียนรู้จากอดีต ปรับปรุงหรือปฏิเสธในสิ่งที่ไม่สำเร็จ และทำต่อไป ความสำเร็จในอนาคต หรือความล้มเหลวขึ้นอยู่กับเจตคติและพฤติกรรมของครู 7. นำสู่สาธารณะ (Go public) แผนไหนที่สำเร็จก็จะมีการเชิญชวนให้คนอื่นเข้ามามีส่วนร่วม ยกย่องและแลกเปลี่ยนความสำเร็จ 8. ฝึกฝนร่างกายและหล่อเลี้ยงสมอง (Exercise the body & nourish the brain) จัดกิจกรรมที่ได้มีการเคลื่อนไหวและ เตรียมครูที่ทำงานสำเร็จของแต่ละกลุ่มโดยมีการจัดอาหาร เครื่องดื่มที่มีประโยชน์ ลำดับต่อไปจะได้กล่าวถึงเทคนิคที่ใช้ในการสร้างชุมชนแห่งการเรียนทางรู้วิชาชีพ (PLC) ที่สามารถนำมาใช้เป็นแนวทางสำหรับการสร้างการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในกลุ่มผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมได้…// ภาพจาก ประชาสัมพันธ์ สพป. เพชรบูรณ์ เขต 3 แหล่งข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ ประเวศ วะสี และคณะ. (2547). ธรรมชาติของสรรพสิ่ง: การเข้าถึง ความจริงทั้งหมด. กรุงเทพฯ: ร่วมด้วยช่วยกัน. พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุต. โต). (2542). เพื่อชุมชนแห่งการศึกษาและ บรรยากาศทางวิชาการ (คุณธรรมของครูอาจารย์และ ผู้บริหาร). กรุงเทพฯ: มูลนิธิพุทธธรรม. วิจารณ์ พานิช. (2554). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21.

แผน active learning technologies
  1. C300 coupe ราคา amg